มะเนียงน้ำ
ชื่อพฤกษศาสตร์:
Aesculus
assamica
Griff.
วงศ์ :
HIPPOCASTANACEAE
ชื่ออื่น :
ขล่ำป้อง
มะเกียน้ำ ปวกน้ำ
หมากขล่ำปอง
ไม้ต้นขนาดใหญ่
ผลัดใบ
ลำต้นแตกกิ่งต่ำ
เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ
ใบประกอบรูปนิ้วมือ
ออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก
ก้านช่อใบยาวมาก
ใบย่อย 6-8 ใบ
ขนาดไม่เท่ากัน
รูปใบหอกกลับ
ขอบใบจักถี่
ไม่มีก้านใบอย่อย
ดอกสีขาว
ตรงกลางเหลือง
ออกเป็นช่อยาวไม่แตกแขนงตามปลายกิ่ง
ช่อดอกตั้งตรงชูเหนือพุ่มใบ
ผลรูปรี
แตกออกเป็น 3 ซีก
ผิวสีน้ำตาล
ขรุขระเล็กน้อย
ไม่มีหนาม
เขตกระจายพันธุ์และถิ่นกำเนิด
:
ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย
ต่างประเทศพบที่อินเดีย
(สิกขิม อัสสัม)
และพม่า
ขึ้นโดดเดี่ยวริมลำธารที่ไม่ถูกรบกวนในป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา
ที่ระดับความสูง
400-1,600 เมตร
ออกดอกเดือน
กุมภาพันธ์ -
เมษายน
ผลแก่เดือน
กรกฏาคม -
สิงหคาม
สถานภาพ :
พืชหายาก