ซ้องแมว
ชื่อวิทยาศาสตร์
: Gmelina
philippensis Cham.
วงศ์ :
Labiatae
ชื่อสามัญ
:
ชื่ออื่น :
ข้าวจี่
(ทั่วไป); คางแมว (ภาคกลาง, ภาคใต้); จิงจาย (ภาคใต้);
จิ้งจ๊อ (ปัตตานี); ซ้อแมว (ลำปาง); ซ้องแมว, ช้องแมว
(ภาคกลาง, นครราชสีมา); ปะงางอ (มลายู-ปัตตานี);
ยวงขนุน (สุราษฎร์ธานี); เล็บแมว (สระบุรี); ส้มแมว
(ราชบุรี); หางกระรอกแดง (ภาคกลาง)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย
ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันกับคู่
มีลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายมน
ดอกช้องแมวออกเป็นช่อตามกิ่งข้าง และห้อยลงมา
ดอกจะออกจากซอกของใบประดับ ซึ่งเรียงซ้อนกัน
ตัวใบประดับ เป็นสีเขียวอมเหลืองมีสีแดงประอยู่เป็นจุด
ตัวดอกสีเหลือง
ที่โคนกลีบติดกันเป็นรูปหลอดกลีบดอกแยกกันที่ปลายของหลอดดอก
ช้องแมวจะออกดอกในช่วง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม
ขยายพันธุ์ด้วยการตอนหรือการปักชำ
ประโยชน์ :
|